วันพฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่น


            
ปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่นเป็นปัญหาที่อยู่ในสังคมไทยมาเป็นเวลานาน และนับวันยิ่งรุนแรงมากยิ่งขึ้น  ปัญหาคอร์รัปชั่นทำให้ประเทศชาติต้องสูญเสียงบประมาณที่ต้องนำมาใช้ในการพัฒนาประเทศชาติเป็นเวลามหาศาล  เช่น การทุจริตของข้าราชการบางคนในการจัดซื้อวัสดุเพื่อนำมาสร้างถนน ทำให้ได้วัสดุที่ไม่มีคุณภาพแต่ราคาสูง ซึ่งส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรงเพราะประชาชนต้องใช้ถนนในการสัญจร  หากถนนไม่ดี ชำรุด หรือทรุดตัวก็จะทำให้ประชาชนเดือดร้อนเกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้
แนวทางการแก้ไขปัญหา
            3.1  ปลูกฝังค่านิยมที่ดีให้กับเยาวชนใสังคม  โดยผู้ใหญ่ควรเป็นแบบอย่างที่ดีและปลูกฝังเยาวชนให้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนร่วมเป็นสำคัญ
            3.2  ภาครัฐควรรณรงค์ให้คนในสังคมรังเกียจการทุจริต  เน้นความซื่อสัตย์  และความภาคภูมิใจในศักดิ์ศรีของตนเอง
             3.3  กฎหมายไทย  ควรมีบทลงโทษทางสังคมต่อผู้ที่กระทำการทุจริตอย่างเข้มงวด  เพื่อไม่ให้มีการใช่ช่องโหว่ทางกฎหมายในการช่วยเหลือพวกพ้องให้พ้นผิด
             3.4  คนในสังคมจะต้องให้ความร่วมมือ  และให้การสนับสนุนองค์กรที่ทำหน้าที่ตรวจสอบและขจัดการทุจริต  เช่น  สำนักงานคณะกรรมการป้องกันการปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ  (ป.ป.ช.) เป็นต้น
             3.5  สื่อมวลชนต้องให้ความสนใจในการติดตามการดำเนินงานของรัฐ   และเปิดโปงปัญหาที่เกิดขึ้นให้สังคมได้รับรู้ เพื่อให้ประชาชนทราบว่าปัญหานี้เป็นอันตรายต่อสังคมมากเพียงใด


ผลเสียของการคอรัปชั่น
             1. ด้านรัฐ ทำให้เกิดการผูกขาด ข้าราชการจะติดต่อซื้อขายกับพรรคพวกของตนหรือผู้ที่ให้ผลประโยชน์ต่อตนเอง เท่านั้น ทำให้สินค้าแพงกว่าความเป็นจริง วัสดุสิ่งของคุณภาพต่ำ ทำให้เกิดกลุ่มผลประโยชน์ในวงราชการ ใช้สถานที่ราชการหากินในทางไม่สุจริต
            2. ด้านข้าราชการ ทำให้ข้าราชการที่ซื่อสัตย์สุจริตหมดกำลังใจในการทำงาน ถ้าผู้บังคับบัญชาร่วมกับลูกน้องใกล้ชิดกระทำการคอรัปชั่นด้วยแล้ว ข้าราชการที่สุจริตย่อมอยู่ในวงราชการยากเพราะจะโดนกลั่นแกล้งตลอดเวลา
            3. ด้านประชาชน ประชาชนเสื่อมศรัทธาข้าราชการ เพราะข้าราชการที่คอรัปชั่นจะทำให้ข้าราชการที่ซื่อสัตย์พลอยเสียชื่อเสียง เกียรติยศ ไปด้วย
3.ปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่น
             ปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่นเป็นปัญหาที่อยู่ในสังคมไทยมาเป็นเวลานาน และนับวันยิ่งรุนแรงมากยิ่งขึ้น  ปัญหาคอร์รัปชั่นทำให้ประเทศชาติต้องสูญเสียงบประมาณที่ต้องนำมาใช้ในการพัฒนาประเทศชาติเป็นเวลามหาศาล  เช่น การทุจริตของข้าราชการบางคนในการจัดซื้อวัสดุเพื่อนำมาสร้างถนน ทำให้ได้วัสดุที่ไม่มีคุณภาพแต่ราคาสูง ซึ่งส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรงเพราะประชาชนต้องใช้ถนนในการสัญจร  หากถนนไม่ดี ชำรุด หรือทรุดตัวก็จะทำให้ประชาชนเดือดร้อนเกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้
แนวทางการแก้ไขปัญหา
            3.1  ปลูกฝังค่านิยมที่ดีให้กับเยาวชนใสังคม  โดยผู้ใหญ่ควรเป็นแบบอย่างที่ดีและปลูกฝังเยาวชนให้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนร่วมเป็นสำคัญ
            3.2  ภาครัฐควรรณรงค์ให้คนในสังคมรังเกียจการทุจริต  เน้นความซื่อสัตย์  และความภาคภูมิใจในศักดิ์ศรีของตนเอง
             3.3  กฎหมายไทย  ควรมีบทลงโทษทางสังคมต่อผู้ที่กระทำการทุจริตอย่างเข้มงวด  เพื่อไม่ให้มีการใช่ช่องโหว่ทางกฎหมายในการช่วยเหลือพวกพ้องให้พ้นผิด
             3.4  คนในสังคมจะต้องให้ความร่วมมือ  และให้การสนับสนุนองค์กรที่ทำหน้าที่ตรวจสอบและขจัดการทุจริต  เช่น  สำนักงานคณะกรรมการป้องกันการปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ  (ป.ป.ช.) เป็นต้น
             3.5  สื่อมวลชนต้องให้ความสนใจในการติดตามการดำเนินงานของรัฐ   และเปิดโปงปัญหาที่เกิดขึ้นให้สังคมได้รับรู้ เพื่อให้ประชาชนทราบว่าปัญหานี้เป็นอันตรายต่อสังคมมากเพียงใด
ผลเสียของการคอรัปชั่น
             1. ด้านรัฐ ทำให้เกิดการผูกขาด ข้าราชการจะติดต่อซื้อขายกับพรรคพวกของตนหรือผู้ที่ให้ผลประโยชน์ต่อตนเอง เท่านั้น ทำให้สินค้าแพงกว่าความเป็นจริง วัสดุสิ่งของคุณภาพต่ำ ทำให้เกิดกลุ่มผลประโยชน์ในวงราชการ ใช้สถานที่ราชการหากินในทางไม่สุจริต
            2. ด้านข้าราชการ ทำให้ข้าราชการที่ซื่อสัตย์สุจริตหมดกำลังใจในการทำงาน ถ้าผู้บังคับบัญชาร่วมกับลูกน้องใกล้ชิดกระทำการคอรัปชั่นด้วยแล้ว ข้าราชการที่สุจริตย่อมอยู่ในวงราชการยากเพราะจะโดนกลั่นแกล้งตลอดเวลา
            3. ด้านประชาชน ประชาชนเสื่อมศรัทธาข้าราชการ เพราะข้าราชการที่คอรัปชั่นจะทำให้ข้าราชการที่ซื่อสัตย์พลอยเสียชื่อเสียง เกียรติยศ ไปด้วย
3.ปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่น
             ปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่นเป็นปัญหาที่อยู่ในสังคมไทยมาเป็นเวลานาน และนับวันยิ่งรุนแรงมากยิ่งขึ้น  ปัญหาคอร์รัปชั่นทำให้ประเทศชาติต้องสูญเสียงบประมาณที่ต้องนำมาใช้ในการพัฒนาประเทศชาติเป็นเวลามหาศาล  เช่น การทุจริตของข้าราชการบางคนในการจัดซื้อวัสดุเพื่อนำมาสร้างถนน ทำให้ได้วัสดุที่ไม่มีคุณภาพแต่ราคาสูง ซึ่งส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรงเพราะประชาชนต้องใช้ถนนในการสัญจร  หากถนนไม่ดี ชำรุด หรือทรุดตัวก็จะทำให้ประชาชนเดือดร้อนเกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้
แนวทางการแก้ไขปัญหา
            3.1  ปลูกฝังค่านิยมที่ดีให้กับเยาวชนใสังคม  โดยผู้ใหญ่ควรเป็นแบบอย่างที่ดีและปลูกฝังเยาวชนให้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนร่วมเป็นสำคัญ
            3.2  ภาครัฐควรรณรงค์ให้คนในสังคมรังเกียจการทุจริต  เน้นความซื่อสัตย์  และความภาคภูมิใจในศักดิ์ศรีของตนเอง
             3.3  กฎหมายไทย  ควรมีบทลงโทษทางสังคมต่อผู้ที่กระทำการทุจริตอย่างเข้มงวด  เพื่อไม่ให้มีการใช่ช่องโหว่ทางกฎหมายในการช่วยเหลือพวกพ้องให้พ้นผิด
             3.4  คนในสังคมจะต้องให้ความร่วมมือ  และให้การสนับสนุนองค์กรที่ทำหน้าที่ตรวจสอบและขจัดการทุจริต  เช่น  สำนักงานคณะกรรมการป้องกันการปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ  (ป.ป.ช.) เป็นต้น
             3.5  สื่อมวลชนต้องให้ความสนใจในการติดตามการดำเนินงานของรัฐ   และเปิดโปงปัญหาที่เกิดขึ้นให้สังคมได้รับรู้ เพื่อให้ประชาชนทราบว่าปัญหานี้เป็นอันตรายต่อสังคมมากเพียงใด
ผลเสียของการคอรัปชั่น
             1. ด้านรัฐ ทำให้เกิดการผูกขาด ข้าราชการจะติดต่อซื้อขายกับพรรคพวกของตนหรือผู้ที่ให้ผลประโยชน์ต่อตนเอง เท่านั้น ทำให้สินค้าแพงกว่าความเป็นจริง วัสดุสิ่งของคุณภาพต่ำ ทำให้เกิดกลุ่มผลประโยชน์ในวงราชการ ใช้สถานที่ราชการหากินในทางไม่สุจริต
            2. ด้านข้าราชการ ทำให้ข้าราชการที่ซื่อสัตย์สุจริตหมดกำลังใจในการทำงาน ถ้าผู้บังคับบัญชาร่วมกับลูกน้องใกล้ชิดกระทำการคอรัปชั่นด้วยแล้ว ข้าราชการที่สุจริตย่อมอยู่ในวงราชการยากเพราะจะโดนกลั่นแกล้งตลอดเวลา

          3. ด้านประชาชน ประชาชนเสื่อมศรัทธาข้าราชการ เพราะข้าราชการที่คอรัปชั่นจะทำให้ข้าราชการที่ซื่อสัตย์พลอยเสียชื่อเสียง เกียรติยศ ไปด้วย
ที่มา: http://www.learners.in.th/blogs/posts/452211

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น